Introduction to Anti-bribery Management System – ISO 37001
การติดสินบน และฉ้อราษฎร์บังหลวง เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ทำลายระบบธรรมาภิบาล และการแข่งขันอย่างเสรี อีกทั้งยังเพิ่มต้นทุนในการดำเนินธุรกิจ และลดทอนคุณภาพของสินค้าและ บริการISO 37001:2016 Anti-bribery Management Systems – Requirements with guidance for use เป็นมาตรฐาน และแนวทางระบบการจัดการการติดสินบน ที่เพิ่งประกาศใช้เมื่อเดือนตุลาคม 2559 ที่ผ่านมา โดย International Standardized Organization สำหรับใช้เป็นแนวทางปฏิบัติที่ดีในระดับสากล (international good practice) ในการป้องกันและลดความเสี่ยง หรือความเสียหายจากปัญหาการติดสินบนให้แก่องค์กร
โครงสร้างเนื้อหาการอบรม1
• | พื้นฐาน และแนวคิดของปัญหาการติดสินบน ตลอดจนตัวอย่างมาตรการ และข้อตกลงระหว่างประเทศ |
• | โครงสร้างของมาตรฐาน ISO 37001:2016 |
• | การเชื่อมโยงกับมาตรฐานการจัดการอื่นๆ |
• | การดำเนินการตามมาตฐาน ISO 37001 เบื้องต้น เช่น การวิเคราะห์บริบทขององค์กร การประเมินความเสี่ยง และการตรวจสอบวิเคราะห์สถานะ บทบาทความรับผิดชอบ การกำหนดนโยบาย และวัตถุประสงค์ การวางแผน และให้การสนับสนุนด้านทรัพยากร การอบรม และการสื่อสาร ตลอดจนกระบวนการควบคุม และประเมินผลการดำเนินการ เป็นต้น |
• | การประยุกต์ใช้แนวคิด plan-do-check-act ในการดำเนินการตามมาตรฐาน ISO 37001 |
• | กระบวนการขอ และให้การรับรอง (certification) |
• | บุคคลากรขององค์กรที่ต้องการความรู้ความเข้าใจพื้นฐานในการดำเนินการ (implementation) ตาม ISO 37001 ตลอดจนการขอการรับรอง (certification) หลังการดำเนินการ |
• | หน่วยงานตรวจสอบภายใน และหน่วยงานที่รับผิดชอบด้านธรรมาภิบาล และจริยธรรมขององค์กร ตลอดจนหน่วยงานที่มีความเสี่ยงที่จะเกี่ยวข้องกับการติดสินบน เช่น ฝ่ายจัดซื้อและพัสดุ ฝ่ายขายและพัฒนาธุรกิจ เป็นต้น |
• | องค์กรทุกขนาด ไม่ว่าจะเป็นองค์กรภาครัฐ เอกชน หรือองค์กรไม่หวังผลกำไร |
• | ผู้สนใจทั่วไป โดยไม่จำเป็นต้องมีพื้นฐานด้านระบบการจัดการมาก่อน |
1 วัน
สิ่งที่ได้รับจากการอบรม:
เอกสารประกอบการอบรม และประกาศนียบัตร2
การวัดผล:
ไม่มีการสอบ
1 เนื้อหาอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม
2 ผู้เข้าร่วมอบรมต้องเข้าร่วมอบรมตลอดระยะเวลาการอบรมที่กำหนด
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่
คุณรัฐพร มาลยพันธุ์
Climate Change & Sustainable Service Manager
บูโร เวอริทัส เซอทิฟิเคชั่น (ประเทศไทย)
02 670 4899 หรือ ratthaporn.malayaphan@th.bureauveritas.com